Saturday, July 12, 2008

Ban Chiang Archaeological Site

Thailand
Date of Inscription: 1992

Udon Thani Province


Brief Description

Ban Chiang is considered the most important prehistoric settlement so far discovered in South-East Asia. It marks an important stage in human cultural, social and technological evolution. The site presents the earliest evidence of farming in the region and of the manufacture and use of metals.

Historic City of Ayutthaya

Thailand
Date of Inscription: 1991

Ayutthaya Province


Brief Description

Founded c. 1350, Ayutthaya became the second Siamese capital after Sukhothai. It was destroyed by the Burmese in the 18th century. Its remains, characterized by the prang (reliquary towers) and gigantic monasteries, give an idea of its past splendour.

Historic Town of Sukhothai and Associated Historic Towns

Thailand
Date of Inscription: 1991

Sukhothai and Kamphaeng Phet Provinces


Brief Description

Sukhothai was the capital of the first Kingdom of Siam in the 13th and 14th centuries. It has a number of fine monuments, illustrating the beginnings of Thai architecture. The great civilization which evolved in the Kingdom of Sukhothai absorbed numerous influences and ancient local traditions; the rapid assimilation of all these elements forged what is known as the 'Sukhothai style'.

Dong Phayayen-Khao Yai Forest Complex

Dong Phayayen-Khao Yai Forest Complex


Provinces of Saraburi, Nakhon Nayok, Nakhon Rachisima, Prachinburi, Srakaew and Burirum


Brief Description



The Dong Phayayen-Khao Yai Forest Complex spans 230 km between Ta Phraya National Park on the Cambodian border in the east, and Khao Yai National Park in the west. The site is home to more than 800 species of fauna, including 112 mammal species (among them two species of gibbon), 392 bird species and 200 reptile and amphibian species. It is internationally important for the conservation of globally threatened and endangered mammal, bird and reptile species, among them 19 that are vulnerable, four that are endangered, and one that is critically endangered. The area contains substantial and important tropical forest ecosystems, which can provide a viable habitat for the long-term survival of these species.

Justification for Inscription

Criterion (x): The Dong Dong Phayayen-Khao Yai Forest ComplexPhayayen-Khao Yai Forest Complex (DPKY-FC) contains more than 800 fauna species, including 112 species of mammals, 392 species of birds and 200 reptiles and amphibians. It is internationally important for the conservation of globally threatened and endangered mammal, bird and reptile species that are recognised as being of outstanding universal value. This includes 1 critically endangered, 4 endangered and 19 vulnerable species. The area contains the last substantial area of globally important tropical forest ecosystems of the Thailandian Monsoon Forest biogeographic province in northeast Thailand, which in turn can provide a viable area for long-term survival of endangered, globally important species, including tiger, elephant, leopard cat and banteng. The unique overlap of the range of two species of gibbon, including the vulnerable Pileated Gibbon, further adds to the global value of the complex. In addition to the resident species the complex plays an important role for the conservation of migratory species, including the endangered Spot-billed Pelican and critically endangered Greater Adjutant.

Thungyai-Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuaries

Thungyai-Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuaries


Brief Description

Stretching over more than 600,000 ha along the Myanmar border, the sanctuaries, which are relatively intact, contain examples of almost all the forest types of continental South-East Asia. They are home to a very diverse array of animals, including 77% of the large mammals (especially elephants and tigers), 50% of the large birds and 33% of the land vertebrates to be found in this region.

ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่

ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่
มรดกโลก ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ เป็นมรดกโลกแหล่งที่ 5 ของไทย และเป็นอันดับที่ 2 ของมรดกทางธรรมชาติไทย ได้รับการลงทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 10-17 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 ณ กรุงเดอแบน ประเทศแอฟริกาใต้
ประกอบไปด้วย อุทยานแห่งชาติ 4 แห่ง และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอีก 1 แห่ง กินพื้นที่อยู่ใน 6 จังหวัด ได้แก่ นครราชสีมา สระบุรี นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว และบุรีรัมย์ มีพื้นที่รวมทั้งสิ้นราว 3,874,863 ไร่ หรือ 6,155 ตารางกิโลเมตร ถูกเรียกว่าเป็น ผืนป่าตะวันออก ซึ่งเปรียบเทียบกับผืนป่าตะวันตก ในเขตจังหวัดตาก และรอบๆ


สถานที่ที่ได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลก

* อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
* อุทยานแห่งชาติทับลาน
* อุทยานแห่งชาติปางสีดา
* อุทยานแห่งชาติตาพระยา
* เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่
ประวัติ
ป่าดงพญาไฟ

แหล่งมรดกโลกผืนนี้ตั้งอยู่บนเทือกเขาพนมดงรัก ซึ่งแต่ก่อนเป็นป่าดงดิบที่ทึบหนา มีสัตว์มากมาย ทั้ง เสือ กระทิง และช้าง ชุกชุมไปด้วยไข้มาเลเรีย ไม่มีถนนหนทางตัดฝ่าผืนป่า ดั่งเช่นในปัจจุบัน การเดินทางจากกรุงเทพ ไปภาคอีสานนั้น จึงยากลำบากอย่างยิ่ง หลายคนต้องเสียชีวิตด้วยไข้ป่า หรือสัตว์ป่า จนไม่ค่อยจะมีใครกล้าเข้ามาในดินแดนแถบนี้ ผู้คนจึงตั้งชื่อให้ผืนป่าแห่งนี้ว่า ป่าดงพญาไฟ
ป่าดงพญาเย็น
ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่
คำว่า ป่าดงพญาเย็นนั้น ได้ถูกกล่าวขึ้นเป็นครั้งแรก ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว จากหลักฐานจากบทพระนิพนธ์ของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ เรื่อง เที่ยวตามทางรถไฟ ได้ทรงเล่าถึงป่าดงพญาไฟไว้ว่า

"ดงพญาไฟนี้ เป็นช่องสำหรับข้ามไปมา ระหว่างเมืองสระบุรีกับมณฑลนครราชสีมาแต่โบราณ ไปได้แต่โดยเดินเท้า จะใช้ล้อเกวียนหาได้ไม่ ด้วยทางต้องเดินตามสันเขาบ้าง ตามไหล่เขาบ้าง คนเดินตามปกตินั้นตั้งแต่ตำบลแก่งคอย ต้องค้างคืนในป่านี้ถึง 2 คืน ถึงจะพ้น"

"สมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเคยพระราชดำริไว้ว่า ไม่ควรเรียกดงพญาไฟเพราะให้คนครั่นคร้าม จึงทรงกราบทูลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขอให้เปลี่ยนชื่อจาก ดงพญาไฟ เป็นดงพญาเย็น แต่คนหลายๆคนก็ยังคงเรียกว่า ป่าดงพญาไฟอยู่ดั่งเดิม"

หลังจากมีการสร้างทางรถไฟ และถนนมิตรภาพ จากภาคกลางไปสู่ภาคอีสาน ดงพญาไฟก็ถูกผ่าออกทันที ผู้คนเริ่มที่จะอพยพเข้าไป แล้วถากถางป่าทำไร่ทำนา โดยเฉพาะบริเวณ ฟาร์มโชคชัย อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา นับตั้งแต่นั้นมา ป่าที่เคยดุร้ายดงพญาไฟ ก็ได้กลายมาเป็นป่าที่ต้องอยู่เงียบๆ ป่าดงพญาเย็นอย่างสมบูรณ์ตั้งแต่นั้นมา
ตำบลเขาใหญ่

แม้การถางป่าโดยการสร้างถนน และรถไฟ ที่เริ่มจากการก่อสร้างจากเขตแดนสุดของป่านั้น จะสามารถปราบป่าอันน่าเกรงขามนี้ได้ แต่ป่านั้น ก็ไม่ยอมให้ใครมารุกรานใจกลางป่าได้

เมื่อราว 70-80 ปีก่อน ได้มีชาวบ้าน จากบ้านท่าชัย และบ้านท่าด่าน จังหวัดนครนายก อพยพมาบุกเบิกพื้นที่ทำกันบริเวณริมหนองขิง กลางผืนป่าเขาใหญ่ อันเป็นทำเลที่ดี มีน้ำอุดมสมบูรณ์ ถากถางเพื่อทำไร่พริก และนาข้าว เมื่อเห็นว่าสถานที่นี้ดี ก็กลับไปชวนญาติๆตามขึ้นมาถากถาง จนกลายมาเป็นชุมชนกลางป่าที่มีราว 40 หลังคาเรือน ยิ่งเวลาผ่านไป ก็ยิ่งมีชาวบ้านจากจังหวัดรอบๆยิ่งขึ้นมาถากถางมากขึ้น จนพื้นที่ราว 18,750 ไร่ หรือราว 30 ตารางกิโลเมตร ถูกถากถางไป

ในราวปี พ.ศ. 2465 ชุมชนนี้ได้ขออนุญาตจัดตั้งเป็น ตำบลเขาใหญ่ ขึ้นกับ อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก ชื่อ เขาใหญ่ จึงเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่นั้นมา ทั้งที่ไม่มียอดเขาแห่งใดที่มีชื่อคำว่าเขาใหญ่เลย มีแต่ เขาเขียว เขาร่ม เขาแหลม และเขาสามร้อยยอดเท่านั้น

ด้วยเหตุที่ว่าตำบลเขาใหญ่นี้อยู่กลางใจป่า ไม่มีถนนที่สามารถเข้าไปได้อย่างสะดวก จึงทำให้ชุมชนนี้กลายเป็นบ้านป่าเมืองเถื่อน กลายเป็นแหล่งซ่อนสุมของเหล่าโจรผู้ร้าย ดังนั้นเมื่อปี พ.ศ. 2475 ทางจังหวัดนครนายก จึงได้ส่งคน นามว่า ปลัดจ่าง มาปราบกวาดล้างโจรบนเขาใหญ่ และก็สามารถปราบได้ โดยใช้เวลานับเดือน แต่ตัวปลัดนั้นก็ต้องมาเสียชีวิตด้วยไข้ป่า ผู้คนจึงเชิดชูด้วยความกล้าหารของท่าน พวกเขาจึงการสร้าง ศาลเจ้าพ่อเขาใหญ่ ขึ้น เป็นศาลที่ให้ผู้คนกราบไหว้มาจนถึงปัจจุบัน

เมื่อปราบปรามโจรเสร็จ ทางจังหวัดนครนายกเห็นว่าขืนปล่อยให้มีการตั้งตำบลอยุ่เหมือนเดิม นานเข้าก็จะกลายเป็นชุมโจรอีก จึงได้สั่งให้อพยพชาวบ้านกว่า 1,000 คนลงมายังพื้นราบ และสั่งให้ยกเลิกตำบลเขาใหญ่ ปล่อยให้กลายเป็นทุ่งหญ้ารกร้าง และป่าให้เห็นดั่งเช่นให้เห็นปัจจุบันอย่างเดิม

อุทยานแห่งชาติแห่งแรก

ในปี พ.ศ. 2502 จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เดินทางไปตรวจราชการบริเวณนั้น และมีโอกาสนั่งเฮลิคอปเตอร์สำรวจป่า ปรากฏว่าจอมพลสฤษดิ์ได้ห่วงกับการถากถางป่ามากขึ้นทุกวัน ท่านจึงมีคำสั่งให้ทางกระทรวงเกษตรและกระทรวงมหาดไทยร่วมกันสำรวจเพื่อจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ และได้ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติในปี พ.ศ. 2505

มรดกโลก

แหล่งมรดกโลกเขาใหญ่ ดงพญาเย็นนั้น เป็นผืนป่าที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง โดยมีสภาพป่าแบบต่างๆ ตั้งแต่ ป่าดงดิบ ป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และทุ่งหญ้า

ที่ตริง ผืนป่าอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่นั้น เคยได้ถูกคณะกรรมการมรดกโลกของไทยทำเรื่องเสนอขึ้นไปครั้งหนึ่งเมื่อปี พ.ศ. 2533 แล้ว ซึ่งในขณะนได้เสนอแหล่งธรรมชาติ 3 แหล่งสู่ที่ประชุมองค์การยูเนสโกเพื่อพิจารณา คือ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เขตรักษาพันธุ์สัตวป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง และอุทยานแห่งชาติตะรุเตา และปรากฏว่า เขตรักษาพันธุ์สัตวป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง ได้รับลงทะเบียนเป็นมรดกโลกเพียงแห่งเดียว ด้วยเหตุที่ว่าอุทยานแห่งชาติที่เหลือทั้ง 2 แห่งนั้น เล็กเกินไป และยังมีนโยบายไม่เพียงพอ

เป็นแหล่งที่มีชนิดพันธุ์ของพืช และสัตว์ที่ไม่สามารถพบได้ที่อื่นเป็นจำนวนมาก โดยในจำนวนพืชราว 15,000 ชนิดที่พบในประเทศไทย สามารถพบในแหล่งมรดกโลกนี้ถึง 2,500 ชนิด มีพืชเฉพาะผืนป่านี้ถึง 16 ชนิด มีสัตว์ป่ากว่า 800 ชนิด สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 112 ชนิด สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำกว่า 209 ชนิด นกกว่า 392 ชนิด และเงือก 4 ชนิด ใน 6 ชนิดที่พบในประเทศไทย

ข้อที่ควรจะปรับปรุง

ยูเนสโกได้เสนอข้อเสนอแนะตามมาอีก 6 ข้อ หลังจากได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลก ได้แก่

1. ให้มีการจัดระบบการจัดผืนป่าทั้งหมดแบบบูรณาการ ไม่ใช่แยกจัดแบบต่างคนต่างดูแลเหมือนเช่นที่ผ่านมา
2. รัฐบาลต้องสนับสนุนงบประมาณ และทรัพยากรบุคคล เพื่อการบริหารจัดการพื้นป่าอย่างเต็มที่
3. ดูแลนโยบายและการปฏิบัติใหสอดคล้องสนับสนุนซึ่งกันและกัน
4. ต้องให้การส่งเสริมการสำรวจ และวิจัยสถานภาพของป่า และสัตว์ป่าอย่างจริงจัง
5. จะต้องหาหนทางเชื่อมผืนป่าต่างๆเข้าด้วยกัน โดยการเชื่อมต่อกับป่าอนุรักษ์ในกัมพูชา
6. ต้องหาทางแก้ปัญหาถนนที่ตัดแยกผืนป่าออกจากกัน โดยจะต้องศึกษา และหามาตรการให้ผืนป่าเชื่อมต่อกันภายในปี พ.ศ. 2550
7. ดำเนินกิจกรรมที่เสริมสร้างความร่วมมือจากชาวบ้าน และชุมชนในการอนุรักษ์ผืนป่า เพื่อเป็นหลักประกันในสถานภาพมรดกโลก

ปัญหา

ปัญหาทางหลวงสาย 304

จากกรณีที่กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม มีโครงการที่จะขยายถนนเส้น 304 กบินทร์บุรี-ปักธงชัย ถนนที่ผ่าอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ และอุทยานแห่งชาติทับลาน จาก 2 เลน เป็น 4 เลน โดยได้ไถพื้นที่ป่าไปแล้วกว่า 4 กม.

ทางด้านกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช ซึ่งมีหน้าที่ดูแลโครงการเฉลิมฉลองผืนป่ามรดกโลกดงพญาเย็น-เขาใหญ่ กล่าวถึงโครงการก่อสร้างทางหลวงหมายเลข 304 ว่า เป็นแผนเมกะโปรเจกต์ของกระทรวงคมนาคมที่นำเสนอต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ที่มีนายพินิจ จารุสมบัติ รองนายกรัฐมนตรีสมัยนั้นเป็น ประธาน เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2548

กรมอุทยานยังมีความเห็นอีกว่า ถนน 304 ที่ผ่านระหว่างอุทยานแห่งชาติทับลานและเขาใหญ่ โดยเฉพาะกม.ที่ 27-29 และกม.ที่ 42-48 มีความเหมาะสมที่จะทำให้ป่าเชื่อมต่อกันได้ และควรสร้างเป็นสะพานยกสูงสำหรับให้รถวิ่งด้านบน ส่วนด้านล่างก็ปลูกป่า ทำแนวรั้วถนนเพื่อให้สัตว์อพยพเคลื่อนย้ายหากันได้ อีกทั้งเรื่องนี้ยังเป็นไปตามแผนงานที่ รัฐบาลไทยต้องนำเสนอความคืบหน้าให้คณะกรรมการมรดกโลก(ยูเนสโก) ในปี พ.ศ. 2550 หลังการเป็นมรดกโลกด้วย นอกจากนั้นทางไทยต้องนำเสนอแผนแม่บทการจัดการผืนมรดกโลกแห่งใหม่ ซึ่งขณะนี้แผนแม่บทจัดทำเสร็จแล้ว และเตรียมจะเปิดรับฟังความคิดเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องราชการ และท้องถิ่น ในเดือนกรกฎาคมนี้ ก่อนจะมีงานเฉลิมฉลองครบรอบ 1 ปี

ทางป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ยังได้รับงบสนับสนุนจากธนาคารพัฒนาแห่งเอเชีย จำนวน 60 ล้านบาท สำหรับจัดทำแนวเชื่อมต่อความหลากหลายทางชีวภาพ และเชื่อมผืนป่าอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน-ตะวันตก เทือกเขาตะนาวศรี เพื่อศึกษาการเดินทางของสัตว์ที่เดินทางข้ามระหว่างป่าไทยกับป่าพม่าด้วย ขณะนี้กรมอุทยานเตรียมจะพาสื่อมวลชนลงพื้นที่ในวันที่ 9 พฤษภาคมนี้

อย่างไรก็ตาม ที่ผ่านมากรมอุทยานพยายามนัดคุยกับกรมทางหลวง เพื่อหารือในประเด็นนี้ แต่มีการเลื่อนนัดมาหลายครั้ง จนล่าสุดได้รับการยืนยันอย่างเป็นทางการว่าจะมีการประชุมกันในวันที่ 18 พฤษภาคม นี้

กรมอุทยานยังได้ทำหนังสือมาที่กรมทางเพื่อให้ทำเป็นสะพานยกสูง เพื่อแบ่งพื้นที่ข้างบนให้รถผ่าน ด้านล่างให้เป็นทางสัตว์ผ่าน แต่เนื่องจากต้องใช้งบประมาณเป็นจำนวนมาก แต่กรมทางมีงบประมาณน้อย และจำเป็นขยายถนน 4 เลน ซึ่งรวมแล้วมีความกว้างเพียง 17-18 เมตร เพื่อรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ที่มีรถบรรทุกหนักวิ่งผ่านกว่า 5,000 คันต่อวัน และลดปัญหาอุบัติเหตุเนื่องจากเกาะกลางเป็นการทำชั่วคราวเท่านั้น ทั้งนี้ ต้องรอคณะกรรมการมรดกโลกยูเนสโกทำการศึกษาความเป็นไปได้ที่เชื่อมผืนป่าบนถนน 304 เพื่อพิจารณากันอีกครั้งหนึ่ง

แต่สิ่งที่ร้ายที่สุดก็คือแหล่งมรดกโลกนี้ถูกถอดถอนจากการเป็นมรดกโลก เพราะพึ่งได้รับการลงทะเบียนเป็นผืนป่ามรดกโลกไม่ถึงปี แต่กลับมีการบุกรุกและดำเนินการที่อาจจะเป็นการเสียหายแก่มรดกโลกผืนนี้ ทั้งที่ไทยได้ประกาศตัวเองว่าจะดูแลรักษาให้ดี เหมือนกับว่าเราโกหก ประเทศ และอาจจะเป็นเหตุให้ถูกปลดจากการเป็นมรดกโลกได้ ซึ่งจะทำให้ประเทศชาติเสียหน้าอย่างมาก รวมทั้งยังจะเสียหายไปยังพื้นที่อื่นที่ไทยกำลังจะขอขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางธรรมชาติในอนาคต เช่น อุทยานแห่งชาติตะรุเตา อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน และบริเวณเทือกเขาเพชรบูรณ์ เป็นต้น

ปัญหาเรื่องเขื่อน

นายอดุล วิเชียรเจริญ ประธานคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลกกล่าวว่า การที่กรมชลประทานยังไม่ยกเลิกโครงการสร้างอ่างเก็บน้ำ 3 แห่งในพื้นที่แหล่งมรดกโลกแห่งนี้นั้นทำให้น่าเป็นห่วงว่าแหล่งมรดกโหแห่งนี้อาจถูกถอนออกจากการเป็นมรดกโลก ซึ่งแหล่งมรดกโลกที่เคยถูกถอดถอนและถูกปลดมาอยู่ในภาวะอันตรายนั้น ส่วนหนึ่งมาจากการท่องเที่ยว ซึ่งนับเป็นภัยคุกคามที่ร้างแรง เพราะจะทำให้มีปัญหาขยะ น้ำเสีย โดยในการประชุมประจำปี พ.ศ. 2550 นี้คณะกรรมการมรดกโลกได้ลงมติให้หมู่เกาะกาลาปากอส ประเทศเอกวาดอร์ ถูกปลดสถานภาพไปอยู่ในภาวะอันตราย เช่นเดียวกับที่อุทยานแห่งชาตินีโอโกโล-โกโบ ประเทศเซเนกัล ซึ่งมีปัญหาการก่อสร้างเขื่อน

ด้านอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติฯ นายเฉลิมศักดิ์ วานิชสมบัติ กล่าวว่า จะสอบถามไปยังกรมชลประทานว่า ยังมีโครงการนี้อยู่หรือไม่ ยอมรับว่าคงไม่สามารถสั่งระงับโครงการได้ หากกรมชลประทานจะเดินหน้าศึกษาความเหมาะสมก็ถือว่าทำได้ ส่วนจะก่อสร้างได้หรือไม่นั้นเป็นอีกเรื่องหนึ่ง [1]

นายหาญณรงค์ เยาวเลิศ สมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สป.) กล่าวว่า โครงการสร้างอ่างเก็บน้ำบริเวณพื้นที่ป่า ห้วยโสมง ใสน้อย และใสใหญ่ เป็นเพียง 3 ใน 12 โครงการ ที่กรมชลประทานเคยได้รับอนุมัติตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 ก่อนที่จะมีกฎหมายสิ่งแวดล้อม ปี พ.ศ. 2535 ที่ระบุให้ต้องทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) โครงการนี้ถูกนำมาปัดฝุ่นเป็นโครงการแก้ไขปัญหาน้ำภาคตะวันออก และคณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2548 หลังจากดงพญาเย็น-เขาใหญ่ ได้รับขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก ในวันที่ 14 กรกฎาคมปีเดียวกัน และล่าสุด กรมชลประทานได้ให้ทีมอาจารย์จากสถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม ศึกษาทางด้านวิศวกรรม

แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง

แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง
บ้านเชียง เป็นแหล่งโบราณคดีสำคัญแห่งหนึ่ง ที่ทำให้รับรู้ถึงการดำรงชีวิตในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ย้อนหลังไปกว่า 5,000 ปี ร่องรอยของมนุษย์ในประเทศไทยสมัยดังกล่าว แสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมที่มีพัฒนาการแล้วในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านความรู้ความสามารถหรือภูมิปัญญา อันเป็นเครื่องมือสำหรับช่วยให้ผู้คนเหล่านั้นสามารถดำรงชีวิตและสร้างสังคม-วัฒนธรรมของมนุษย์ได้สืบเนื่องต่อกันมาเป็นระยะเวลายาวนาน วัฒนธรรมบ้านเชียงได้ครอบคลุมถึงแหล่งโบราณคดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออีกกว่าร้อยแห่ง ซึ่งเป็นบริเวณพื้นที่ที่มีมนุษย์อยู่อาศัยหนาแน่นมาตั้งแต่หลายพันปีแล้ว ด้วยเหตุนี้เององค์การยูเนสโกของสหประชาชาติจึงได้ยอมรับขึ้นบัญชีแหล่งวัฒนธรรมบ้านเชียงไว้เป็นแห่งหนึ่งในบรรดามรดกโลก

ศิลปะเครื่องปั้นดินเผา

ศิลปะเครื่องปั้นดินเผา ของบ้านเชียงนั้น สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ยุค ได้แก่

1. ภาชนะดินเผาสมัยต้น อายุ 5,600-3,000 ปี มีลายเชือกทาบ ซึ่งคาดกันว่าเป็นปอกัญชา ทั้งยังมีลายขูดขีด และมีการเขียนสีบ่า โดยพบวางคู่กับโครงกระดูก บางใบใช้บรรจุศพเด็กด้วย
2. ภาชนะดินเผาสมัยกลาง อายุ 3,000 ปี-2,300 ปี สมัยนี้เป็นสมัยที่เริ่มมีการขีดทาสีแดงแล้ว
3. ภาชนะดินเผาสมัยปลาย อายุ 2,300 ปี-1,800 ปี เป็นยุคที่มีลวดลายที่สวยงามที่สุด ลวดลายพิสดาร สะท้อนให้เห็นถึงสภาพสังคมที่สงบสุข ก่อนที่จะกลายมาเป็นการเคลือบน้ำโคลนสีแดงขัดมัน

ภาชนะดินเผาสมัยปลาย
ภาชนะดินเผาสมัยปลาย

เหตุผลที่ได้รับคัดเลือกเป็นมรดกโลก


แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อปี พ.ศ. 2535 โดยมีเหตุผลตามเกณฑ์การพิจารณาคือ

* (iii) - เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไปแล้ว

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียง เป็นพิพิธภัณฑ์ แหล่งหนึ่งที่สำคัญที่เก็บรักษาศิลปะเครื่องปั้นดินเผาของบ้านเชียง ที่เปิดให้นักท่องเที่ยวสามารถไปเยี่ยมชมได้ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียง ตั้งอยู่ในจังหวัดอุดรธานี

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง


เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร-ห้วยขาแข้ง เป็นแหล่งมรดกโลกของประเทศไทย โดยการลงทะเบียนของยูเนสโก ระหว่างวันที่ 9-13 ธันวาคม พ.ศ. 2534 ณ เมืองคาร์เทจ ประเทศตูนีเซีย กินพื้นที่ครอบคลุม 6 อำเภอ ของ 3 จังหวัด ได้แก่ อำเภอบ้านไร่ อำเภอลานสัก อำเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี อำเภอสังขละบุรี อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี และอำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก มีพื้นที่ 4,046,747 ไร่ หรือ 6,427 ตารางกิโลเมตร

เขตรักษาพันธุ์สัตวป่าที่ได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลก

* เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร.3,647 กม²
* เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง...2,780 กม²

เหตุผลที่ได้รับคัดเลือกเป็นมรดกโลก

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้งได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อปี พ.ศ. 2534 โดยมีเหตุผลตามเกณฑ์การพิจารณาคือ

* (viii) - เป็นตัวอย่างที่เด่นชัดในการเป็นตัวแทนของขบวนการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญทางธรณีวิทยาหรือวิวัฒนาการทางชีววิทยา และปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่กำลังเกิดอยู่ เช่น ภูเขาไฟ เกษตรกรรมขั้นบันได
* (ix) - เป็นแหล่งที่เกิดจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์หายากหรือสวยงามเป็นพิเศษ เช่น แม่น้ำ น้ำตก ภูเขา
* (x) - เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของชนิดสัตว์และพันธุ์พืชที่หายากหรือที่ตกอยู่ในสภาวะอันตราย แต่ยังคงสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ ซึ่งรวมถึงระบบนิเวศอันเป็นแหล่งรวมความหนาแน่นของพืชและสัตว์ที่ทั่วโลกให้ความสนใจด้วย

ลักษณะทางภูมิประเทศ

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่ มีลักษณะทางภูประเทศเป็นภูเขาสลับซับซ้อน และเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำลำธารที่สำคัญเช่น แม่น้ำแควน้อยและแม่น้ำแควใหญ่ พื้นที่ของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร มีความสูงโดยเฉลี่ยมีความสูงอยู่ที่ ประมาณ 800 - 1,200 เมตรจากระดับน้ำทะเล และมีเขาใหญ่เป็นยอดเขาที่สูงที่สุด ของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรซึ่งมีความสูง 1,800 เมตรจากระดับน้ำทะเล

แหล่งมรดกโลกสุโขทัย ศรีสัชนาลัย กำแพงเพชร

แหล่งมรดกโลกสุโขทัย ศรีสัชนาลัย กำแพงเพชร
แหล่งมรดกโลกสุโขทัย ศรีสัชนาลัย กำแพงเพชร
อุทยานประวัติศาสตร์ที่ได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลก

* อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย
* อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย
* อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร

เหตุผลที่ได้รับคัดเลือกเป็นมรดกโลก

ทั้ง 3 อุทยานประวัติศาสตร์นี้ได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อปี พ.ศ. 2534 โดยมีเหตุผลตามเกณฑ์การพิจารณาคือ

* (i) - เป็นตัวแทนซึ่งแสดงผลงานชิ้นเอกที่จัดทำขึ้นด้วยการสร้างสรรค์อันฉลาด
* (iii) - เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไปแล้ว

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา
อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา เป็นอุทยานประวัติศาสตร์ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้รับการพิจารณาเป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2534


ประวัติ
แผนที่อุทยานฯ

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา จากการสำรวจพบว่า มีโบราณสถานกระจัดกระจายอยู่ไม่ต่ำกว่า 200 แห่ง การดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวกับโบราณสถานของกรุงศรีอยุธยา ได้เริ่มต้นขึ้นครั้งแรก เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ พระยาโบราณราชธานินท์ ข้าหลวงมณฑลกรุงเก่าทำการขุดแต่งพระที่นั่งบางองค์ในเขตพระราชวังหลวง ซึ่งในขณะนั้นรกมาก เนื่องจากอิฐหัก กากปูนทับถมกว่าร้อยปี

ต่อมาในสมัยของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม จึงได้เริ่มโครงการบูรณะพระที่นั่ง และวัดต่างๆ โดยมีกรมศิลปากรเป็นผู้ดูแล

ปี พ.ศ. 2512 ได้มีโครงการชื่อ โครงการสำรวจขุดแต่งและบูรณะปรับปรุงโบราณสถาน โดยมีความพยายามที่จะประสานงานร่วมมือกับองค์กรต่างๆ ในอันที่จะอนุรักษ์เมืองประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาไว้ ในที่สุด พ.ศ. 2519 ได้มีการปรับปรุงโครงสร้างของงานชิ้นใหม่ แล้วจัดทำโครงการอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาขึ้น และเริ่มทำการบูรณะปรับปรุงโบราณสถานเป็นต้นมาตั้งแต่ พ.ศ. 2520
เหตุผลที่ได้รับคัดเลือกเป็นมรดกโลก

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อปี พ.ศ. 2534 โดยมีเหตุผลตามเกณฑ์การพิจารณาคือ

* (i) - เป็นตัวแทนซึ่งแสดงผลงานชิ้นเอกที่จัดทำขึ้นด้วยการสร้างสรรค์อันฉลาด
* (iii) - เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไปแล้ว

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%98%E0%B8%A2%E0%B8%B2

hailand herritage htailand herritage tthailand herritage rhailand herritage yhailand herritage 5hailand herritage 6hailand herritage fhailand herritage ghailand herritage tailand herritage tahiland herritage thhailand herritage tgailand herritage tjailand herritage tyailand herritage tuailand herritage tbailand herritage tnailand herritage thiland herritage thialand herritage thaailand herritage thsiland herritage thziland herritage thqiland herritage thwiland herritage thaland herritage thaliand herritage thaiiland herritage thauland herritage thaoland herritage thajland herritage thakland herritage tha8land herritage tha9land herritage thaiand herritage thaialnd herritage thailland herritage thaikand herritage thaioand herritage thaipand herritage thailnd herritage thailnad herritage thailaand herritage thailsnd herritage thailznd herritage thailqnd herritage thailwnd herritage thailad herritage thailadn herritage thailannd herritage thailabd herritage thailamd herritage thailahd herritage thailajd herritage thailan herritage thailan dherritage thailandd herritage thailans herritage thailanf herritage thailane herritage thailanr herritage thailanx herritage thailanc herritage thailandherritage thailandh erritage thailand herritage thailand erritage thailand ehrritage thailand hherritage thailand gerritage thailand jerritage thailand yerritage thailand uerritage thailand berritage thailand nerritage thailand hrritage thailand hreritage thailand heerritage thailand hwrritage thailand hrrritage thailand hsrritage thailand hdrritage thailand h3rritage thailand h4rritage thailand heritage thailand herritage thailand herrritage thailand heeritage thailand hetritage thailand he4ritage thailand he5ritage thailand hedritage thailand hefritage thailand heritage thailand herirtage thailand herrritage thailand hereitage thailand hertitage thailand her4itage thailand her5itage thailand herditage thailand herfitage thailand herrtage thailand herrtiage thailand herriitage thailand herrutage thailand herrotage thailand herrjtage thailand herrktage thailand herr8tage thailand herr9tage thailand herriage thailand herriatge thailand herrittage thailand herrirage thailand herriyage thailand herri5age thailand herri6age thailand herrifage thailand herrigage thailand herritge thailand herritgae thailand herritaage thailand herritsge thailand herritzge thailand herritqge thailand herritwge thailand herritae thailand herritaeg thailand herritagge thailand herritafe thailand herritahe thailand herritate thailand herritaye thailand herritave thailand herritabe thailand herritag thailand herritagee thailand herritagw thailand herritagr thailand herritags thailand herritagd thailand herritag3 thailand herritag4
Information referrence Form: http://whc.unesco.org/